กฎเกณฑ์บังคับ

1. บทหนึ่งมี 2 บาท บาทหนึ่งมี 2 วรรค วรรคแรกมี 5 คา วรรคหลังมี 6 คา รวมเป็น
11 คา จึงเรียกว่า กาพย์ยานี 11
2. สัมผัส มีดังนี้ คาสุดท้ายของวรรคที่ 1 สัมผัสกับคาที่ 3 ของวรรคที่ 2 (เลื่อนมาคาที่
1 หรือ 2 ก็ได้) คาสุดท้ายของวรรคที่ 2 สัมผัสกับคาสุดท้ายของวรรคสุดท้ายของวรรคที่ 1
ถ้าแต่งบทต่อไป จะต้องให้คาสุดท้ายของบทต้น สัมผัสกับคาสุดท้ายของวรรคที่ 2 ของบท
ต่อไป ซึ่งถือเป็นสัมผัสระหว่างบท ในการแต่งกาพย์ยานี 11 นั้น ถ้าจะให้คาสุดท้ายของวรรคที่
3 สัมผัสกับคาที่ 1 หรือ 2 หรือ 3 ของวรรคที่ 4 ด้วย ก็จะเป็นการเพิ่มความไพเราะยิ่งขึ้น ซึ่งใน
ปัจจุบันนี้นิยมให้สัมผัสกันด้วย
45
3. ถ้อยคาที่ใช้ในวรรคเดียวกัน นิยมให้มีสัมผัสในเหมือนกลอนจึงจะไพเราะ
4. คาสุดท้ายของบท ห้ามใช้คาตายหรือคาที่มีรูปวรรณยุกต์ และนิยมใช้เสียงวรรณยุกต์
สามัญหรือจัตวา
5. กาพย์ยานีนั้น อาจเรียกว่า กาพย์ยานีลานา หรือ กาพย์ 11 ก็ได้ เหตุที่เรียกว่า
กาพย์ยานีนั้น เข้าใจว่าเป็นกาพย์ที่แปลงมาจากฉันท์บาลีใน “รตนสูตร” ซึ่งขึ้นต้นด้วยคาว่า
“ยานี” ซึ่งเรียกชื่อตามคาขึ้นต้นนั้น
6. กาพย์ยานี มักนิยมแต่งเป็นบทสวด บทเห่เรือ บทพากย์โขน และบทสรภัญญะที่ใช้ใน
บทละคร และมักนิยมแต่งเกี่ยวกับตอนที่เป็นบทพรรณนาโวหาร หรือตอนที่ชมสิ่งต่างๆ หรือ
ตอนที่โศกเศร้า คร่าครวญ

ตัวอย่างเช่น


ที่มา:www.th.wikipedia.org

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น